1. โครงสร้างทางสังคม
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โครงสร้าง ของสังคม
เปรียบได้กับบ้านเรือนที่เราอาศัยอยู่อย่าง สมบูรณ์ ประกอบด้วย
โครงสร้างที่สำคัญหลายอย่าง เช่น คาน หลังคา พื้น ฝา ประตู หน้าต่าง เป็นต้น
โครงสร้างของสังคมก็เช่นเดียวกัน ย่อมประกอบด้วยกลุ่มคน สถาบันทางสังคม และสถานภาพ
บทบาทของคนในสังคม อ่านต่อ
2. การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง
กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน
เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านต่อ
3. การขัดเกลาทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคมหมายถึง
กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่าและนำเอากฎเกณฑ์
ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต
เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่ตนเป็นสมาชิดอยู่ได้เป็นอย่างดี อ่านต่อ
4. ลักษณะสังคมไทย
สังคมไทยมีลักษณะเป็นเอกสังคม
ประกอบด้วยคนเชื้อชาติและสัญชาติไทยอยู่รวมกันเป็นส่วนใหญ่ ในปีพ.ศ. 2536
ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 58 ล้านคนและปี พ.ศ. 2539 มีจำนวนประชากรประมาณ 60
ล้านคน ประเทศไทยจึงประสบปัญหาการเพิ่มจำนวนของประชากร อ่านต่อ
พุยพุย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น